นพ. ธีรยุทธ์ จงวุฒิเวศย์

นพ. ธีรยุทธ์ จงวุฒิเวศย์

นพ. ธีรยุทธ์ จงวุฒิเวศย์


ความชำนาญ
สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
ความชำนาญพิเศษเฉพาะทาง
อนุสาขาเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์
สาขา

ข้อมูลทั่วไป

นพ. ธีรยุทธ์ จงวุฒิเวศย์ สูตินรีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ มีประสบการณ์ด้านสูตินรีเวชและเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ 7 ปี เชี่ยวชาญการรักษาภาวะผู้มีบุตรยากจนประสบความสำเร็จ และเป็นแพทย์รางวัลระดับชาติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

แรงบันดาลใจของแพทย์เฉพาะทาง

ในระหว่างการศึกษาด้านสูติศาสตร์และนรีเวชาวิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2546) นพ. ธีรยุทธ์ เล็งเห็นปัญหาของคู่สมรสที่มีบุตรยาก พบว่าคู่สมรสส่วนใหญ่แต่งงานเมื่อล่วงเลยวัยเจริญพันธุ์ บางคู่มีอายุมาก มีปัญหาภายในที่ทำให้ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ตามธรรมชาติ แต่ก็มีความต้องการมีบุตรเมื่อมีความพร้อมทางเศรษฐานะ จึงศึกษาต่อเนื่องด้านเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ เดินทางไปศึกษาเชิงลึกด้านเวชาศาสตร์การเจริญพันธุ์ที่ Cornell University นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ตลอดระยะเวลา 1 ปี ได้มีการฝึกฝนในคลินิกมีบุตรยากซึ่งมีชื่อเสียงเป็นลำดับต้นๆ ในอเมริกา ศึกษากระบวนการผสมตัวอ่อน และนำกลับมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยที่มีบุตรยากในประเทศไทยประสบความสำเร็จ

 

 

ความภาคภูมิใจที่ได้รับรางวัลระดับชาติ จากงานประชุมวิชาการของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย หัวข้อ การให้เลือดในสตรีตั้งครรภ์ที่คลอดบุตรโดยการผ่าตัดคลอด ในปี 2545 ควบคู่กับการเป็นอาจารย์แพทย์พิเศษให้กับมหาวิทยาลัยมหิดล

แนวทางการดูแลผู้มีบุตรยาก

สิ่งที่ท้าทายที่สุดการทำให้คู่สมรสที่มีบุตรยากสามารถมีบุตรได้สำเร็จ นพ. ธีรยุทธ์ ให้ความสำคัญกับความเข้าใจของผู้มีบุตรยาก ซึ่งมีความต้องการในภาวะที่ไม่สมบูรณ์ทางร่างกาย ดังนั้นจึงต้องให้คำปรึกษาที่ชัดเจน ทำการตรวจวินิจฉัยสาเหตุของการมีบุตรยากโดยละเอียดทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน อธิบายแนวทางการรักษาที่เหมาะสม และโฟกัสถึงปัญหาเฉพาะบุคคลเพื่อทำการรักษาตามแนวทางที่ดีที่สุด

ความประทับใจในการรักษา

ผู้ป่วยรายหนึ่งเข้ารับคำปรึกษาปัญหาผู้มีบุตรยาก เนื่องจากสูญเสียลูกชายคนเดียวจากอุบัติเหตุ ครอบครัวไม่สามารถทำใจต่อการสูญเสียที่เกิดขึ้นได้ ขณะนั้นผู้ป่วยมีอายุถึง 48 ปี เริ่มเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน มีโอกาสน้อยมากที่จะตั้งครรภ์ด้วยไข่ของตนเอง จำเป็นต้องได้รับไข่บริจาค แพทย์ทำการผสมเทียมฝังสเปิร์มของสามีร่วมกับไข่ที่ได้รับบริจาค และฝังในมดลูกของผู้ป่วยทำให้ตั้งครรภ์ได้เป็นผลสำเร็จ ทราบภายหลังว่า ไข่บริจาคได้รับจากภรรยาของลูกชายที่เสียชีวิต โดยแพทย์เป็นผู้ทำคลอดทารกน้อยลืมตาดูโลก ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง เป็นหนึ่งในความประทับใจจากประสบการณ์ของแพทย์

ความประทับใจในการรักษา

ผู้ป่วยรายหนึ่งเข้ารับคำปรึกษาปัญหาผู้มีบุตรยาก เนื่องจากสูญเสียลูกชายคนเดียวจากอุบัติเหตุ ครอบครัวไม่สามารถทำใจต่อการสูญเสียที่เกิดขึ้นได้ ขณะนั้นผู้ป่วยมีอายุถึง 48 ปี เริ่มเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน มีโอกาสน้อยมากที่จะตั้งครรภ์ด้วยไข่ของตนเอง จำเป็นต้องได้รับไข่บริจาค แพทย์ทำการผสมเทียมฝังสเปิร์มของสามีร่วมกับไข่ที่ได้รับบริจาค และฝังในมดลูกของผู้ป่วยทำให้ตั้งครรภ์ได้เป็นผลสำเร็จ ทราบภายหลังว่า ไข่บริจาคได้รับจากภรรยาของลูกชายที่เสียชีวิต โดยแพทย์เป็นผู้ทำคลอดทารกน้อยลืมตาดูโลก ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง เป็นหนึ่งในความประทับใจจากประสบการณ์ของแพทย์


  • 2536 – 2542 แพทยศาสตร์บัณฑิต, ม.ขอนแก่น
  • 2542 – 2546 วว.สูตินรีเวชแพทย์, ม.ขอนแก่น
  • 2549 – 2551 วว.อนุสาขาเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์, รพ.รามาธิบดี
  • 2554 – 2555 Fellowship in reproductive medicine, Weill Cornell Medical College USA.

ตารางออกตรวจ

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)

คลินิก สูติกรรม

(14:00 - 17:00)
Loading...
Loading...