หลังผ่าตัดริดสีดวงทวาร เลือกทานอาหารยังไง...ช่วยป้องกันการเกิดริดสีดวงซ้ำได้
แม้ผ่าตัดริดสีดวงทวารไปแล้ว แต่ก็มีโอกาสเป็นซ้ำอีกได้ การดูแลตนเองหลังผ่าตัด โดยเฉพาะการเลือกรับประทานอาหารเพื่อป้องกัน...จึงมีความสำคัญอย่างมาก
Tagริดสีดวงทวาร,การดูแลตนเองหลังผ่าตัดริดสีดวง| Create DateOctober 12, 2020
หลั่งเร็ว เสร็จไว เรือล่มปากอ่าว ปัญหาระดับชาติของผู้ชายที่แก้ไขได้ด้วยการฝึกหลั่งช้า
หลั่งเร็ว เสร็จไว เรือล่มปากอ่าว นกกระจอกไม่ทันกินน้ำ ปัญหาระดับชาติ ที่อาจเกิดได้ทั้งจากทางกายและทางจิตใจ ซึ่งปัญหานี้สามารถแก้ไขได้ด้วยการฝึกหลั่งช้าเป็นประจำ
Tagหลั่งเร็ว,เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ,เซ็กซ์| Create DateOctober 12, 2020
เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์...ควรทำอย่างไรดี?
มีเพศสัมพันธ์แล้วเจ็บ...อาจกระทบต่อสัมพันธ์ระหว่างคู่รัก การรู้ถึงสาเหตุที่แท้จริงของอาการว่าเกิดจากทางร่างกายหรือจิตใจ ช่วยให้แก้ไขได้ตรงจุด หยุดปัญหาเจ็บขณะมีเซ็กซ์ได้
Tagมีเพศสัมพันธ์แล้วเจ็บ,เจ็บขณะมีเซ็กซ์,เซ็กซ์| Create DateOctober 12, 2020
แต่งงานมานานไม่ท้องซักที มีลูกยากแบบนี้...จะรักษาด้วยวิธีไหนได้บ้าง
อายุมากอาจไม่ใช่ปัจจัยที่ทำให้มีลูกยากเพียงอย่างเดียว บางคนอายุไม่มากแต่แต่งงานมาตั้งนานกลับไม่ท้องซักที เป็นเพราะสาเหตุอะไรได้บ้างและจะรักษาได้ด้วยวิธีไหน มาหาคำตอบกัน
Tagมีบุตรยาก,มีลูกยาก,เด็กหลอดแก้ว,IVF,ICSI| Create DateOctober 08, 2020
วิตามิน...สารอาหารสำคัญ! เสริมภูมิคุ้มกัน ชะลอความเสื่อมของร่างกาย
วิตามินเป็นสารอาหารที่สำคัญต่อร่างกาย เพราะมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ หากร่างกายขาดวิตามินเมื่อไร อาจส่งผลให้ร่างกายเจ็บป่วย หรือมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นได้
Tagวิตามิน,ภาวะขาดวิตามิน,ชะลอวัย,Vitamin,health,body,vitamin,VitaminB,| Create DateOctober 05, 2020
มะเร็งเต้านม...ภัยร้ายอันดับ 1 ของผู้หญิง
มะเร็งเต้านม โรคร้ายที่พบได้มากอันดับ 1 สาวๆ จึงไม่ควรมัวเขินอายต่อการการตรวจเต้านม และแม้จะไม่มีความเสี่ยงหรืออาการผิดปกติใดๆ ก็ควรตรวจแมมโมแกรมประจำปีตั้งแต่อายุ 40 ปีขึ้นไป
Tagมะเร็งเต้านม,มะเร็ง,เจ็บเต้านม,เต้านม,ก้อนเต้านม| Create DateOctober 01, 2020
เทคฮอร์โมน...นานแค่ไหนถึงเรียกว่าเหมาะสม
เมื่อเพศทางร่างกาย และเพศทางจิตใจ ไม่ตรงกัน เราจึงต้องพยายามที่จะให้จิตใจของเราได้รับการตอบสนอง การเทคฮอร์โมน ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือก และตัวสำคัญที่จะทำให้เราข้ามเพศไปยังเพศที่ต้องการได้
Tagฮอร์โมน,เทคฮอร์โมน,ผลข้างเคียงเทคฮอร์โมน| Create DateSeptember 29, 2020
ความต้องการทางเพศมากแค่ไหน? ถึงจะเรียกว่า….เสพติดเซ็กส์
โรคเสพติดเซ็กส์คืออะไร รสนิยมเรื่องเซ็กส์แบบที่เราเป็นจะใช่โรคนี้หรือไม่ แล้วต้องมีเซ็กส์บ่อยแค่ไหน ถึงจะเรียกได้ว่าเป็นโรคเสพติดเซ็กส์ มาหาคำตอบไปพร้อมกัน
Tagโรคเสพติดเซ็กส์,เซ็กส์| Create DateSeptember 29, 2020
โรคเบาหวาน รู้ไหมใครเสี่ยง
โรคเบาหวานเป็นภัยเงียบ ผู้ป่วยบางรายหากระดับน้ำตาลในเลือดสูงไม่มากจะไม่มีอาการใด ๆ ทราบได้จากการตรวจเลือดเท่านั้น จากการสำรวจสุขภาพในคนไทย โดยทำการตรวจเลือดพบว่า มีผู้เป็นโรคเบาหวานเกือบ 50% ที่เป็นโร
Tagเบาหวาน,เสี่ยงเบาหวาน| Create DateSeptember 29, 2020
Testosterone ฮอร์โมนเพศชาย...ที่มีความสำคัญมากกว่าแค่เรื่องบนเตียง
ฮอร์โมนเพศชายผิดปกติ ไม่ได้ส่งผลแค่ทำให้หย่อนสมรรถภาพทางเพศ แต่อาจกระทบต่ออารมณ์ จิตใจ รวมไปถึงสุขภาพร่างกายด้านอื่นๆ ด้วย
Tagสมรรถภาพทางเพศ| Create DateSeptember 29, 2020
นกเขาไม่ขัน อ่อนเพลีย ศีรษะล้าน สัญญาณเตือน “ฮอร์โมนเพศชายผิดปกติ”
ฮอร์โมนเพศชายผิดปกติ ไม่ได้ส่งผลแค่ทำให้หย่อนสมรรถภาพทางเพศ แต่อาจกระทบต่ออารมณ์ จิตใจ รวมไปถึงสุขภาพร่างกายด้านอื่นๆ ด้วย
Tagสมรรถภาพทางเพศ| Create DateSeptember 29, 2020
เคลียร์ทุกคำถามเรื่อง “การผ่าตัดกระดูกขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน” ที่คุณควรรู้
การผ่าตัดขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน ใช้แก้ไขปัญหาช่องปากอะไรได้บ้าง ปลอดภัยไหม น่ากลัวแค่ไหน แล้วต้องพักฟื้นนานกี่เดือน นี่คือข้อมูลสำคัญที่คุณควรรู้
Tagผ่าตัดขากรรไกร| Create DateSeptember 28, 2020
ปวดหลัง...สัญญาณบอก(หลาย)โรคที่ไม่ควรมองข้าม
ปวดหลังเป็นสัญญาณที่บอกได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นภาวะกระดูกพรุน กล้ามเนื้ออักเสบ หรือรุนแรงถึงขั้นหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เราจึงต้องรู้ทันสาเหตุที่แท้จริง
Tagปวดหลัง,ปวดร้าวลงขา,หมอนรองกระดูกสันหลัง,รักษาปวดหลัง| Create DateSeptember 28, 2020
จะรู้และดูแลได้อย่างไร? เมื่อ “ลูกถูกทำร้าย”
ลูกถูกทำร้ายที่โรงเรียนพ่อแม่ควรทำอย่างไร แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าลูกถูกทำร้ายที่โรงเรียน วันนี้จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น รพ.พญาไท 3 มีคำตอบ
Tagลูกถูกทำร้าย,การทำร้ายในโรงเรียน| Create DateSeptember 28, 2020
หลังการผ่าตัดรักษามะเร็งปอด...ควรดูแลตนเองยังไงให้ปอดฟื้นตัวเร็ว
หลังผ่าตัดปอดไปหนึ่งกลีบเพื่อรักษามะเร็งปอด คนไข้ควรลุกเดินให้เร็ว พยายามขับเสมหะให้ออก หมั่นหายใจลึกๆ เพื่อช่วยให้สมรรถภาพปอดฟื้นตัวได้ไวขึ้น
Tagก้อนเนื้อที่ปอด,มะเร็งปอด,ผ่าตัดปอด,รักษามะเร็งปอด| Create DateSeptember 24, 2020
ใคร? ควรแก้ไขปัญหาสายตาสั้น ยาว เอียง ด้วย Trans PRK
Trans PRK เป็นวิธีการแก้ไขสายตา สั้น ยาว เอียง เช่นเดียวกับวิธีเลสิก แต่ Trans PRK จะใช้เลเซอร์ลอกเอาผิวกระจกตาออก แล้วปรับความโค้งกระจกตาในขั้นตอนเดียว ด้วยเทคโนโลยีแบบใหม่ ด้วยแนวคิด “No-Touch” Trea
TagPRK,laser,เลเซอร์แก้ไขสายตา,เลสิก,Lasik| Create DateSeptember 24, 2020
ชายรุ่นใหญ่ ปัสสาวะบ่อยแค่ไหน? เสี่ยงต่อมลูกหมากโต
โรคต่อมลูกหมากโต หรือ BPH (Benign Prostatic Hyperplasia) คือภาวะที่ต่อมลูกหมากมีขนาดใหญ่ผิดปกติ จนไปบีบท่อปัสสาวะให้แคบลง พบในผู้ชายอายุ 45 ปีขึ้นไป พบได้บ่อยขึ้นเรื่อยๆ ตามอายุที่เพิ่มขึ้นและโดยเฉพาะ
Tagต่อมลูกหมาก. ต่อมลูกหมากโต| Create DateSeptember 24, 2020
รู้ไว้ใช่ว่า โรคเบาหวานน่ากลัวอย่างไร
หากป่วยเป็นโรคเบาหวาน อาจทำให้อายุสั้นลงได้ จากสถิติพบว่า หากบุคคลอายุ 60 ปี ป่วยเป็นโรคเบาหวานอายุจะสั้นลง 6 ปี และหากเป็นโรคเบาหวานร่วมกับโรคหลอดเลือดหัวใจ อายุจะสั้นลง 12 ปี และการมีระดับนํ้าตาลในเ
Tagเบาหวาน,โรคแทรกซ้อนเบาหวาน| Create DateSeptember 22, 2020
แค่กล้ามเนื้ออ่อนแรง ก็อาจรุนแรงถึงชีวิต!
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ALS (Amyotrophic Lateral Sclerosis) เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของเซลล์ประสาทสั่งการที่สมอง และไขสันหลัง
Tagกล้ามเนื้ออ่อนแรง,ALS,โรคกล้ามเนื้ัออ่อนแรง| Create DateSeptember 18, 2020
ภาวะหายใจลำบาก (RDS) ภัยร้าย...ทารกแรกเกิด
RDS คือภาวะหายใจลำบากของทารกตั้งแต่กำเนิด ซึ่งเกิดจากการคลอดก่อนกำหนด ทำให้ปอดยังพัฒนาได้ไม่เต็มที่ แล้วคุณพ่อคุณแม่จะต้องรับมืออย่างไร ไปทำความเข้าใจพร้อมๆ กัน
Tagโรคเด็ก,คลอดก่อนกำหนด| Create DateSeptember 18, 2020
รู้ทัน ปวดคอแบบไหน อาจเป็นสัญญาณเตือน โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
ปวดคอ อาจไม่ใช่แค่ออฟฟิศซินโดรม แต่อาจเสี่ยงหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคที่ต้องรีบรักษาก่อนรุนแรงและจบลงด้วยการผ่าตัด
Tagปวดคอ,ปวดไหล่,ออฟฟิศซินโดรม,หมองรองกระดูกทับเส้น| Create DateSeptember 18, 2020
ผ่าตัดสมอง...ผ่านกล้อง เทคนิคที่ปลอดภัยและฟื้นตัวไวกว่าการผ่าตัดแบบเดิม
เมื่อพูดถึงการผ่าตัดสมอง คนไข้จะกังวลเรื่องภาวะแทรกซ้อนระหว่างผ่าตัด และผลข้างเคียงหลังการผ่าตัด ซึ่งการผ่าตัดสมองผ่านกล้อง...ช่วยลดความเสี่ยงเหล่านี้ได้
Tagผ่าตัดสมอง,ผ่าตัดผ่านกล้อง,รักษาโรคหลอดเลือดสมอง| Create DateSeptember 18, 2020
ปวดคอ บ่า ไหล่ ปัญหาออฟฟิศซินโดรมที่ต้องรีบแก้ ก่อนเสี่ยง “หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท”
ปวดคอ บ่า ไหล่ อย่ามัวคิดว่าแค่ทานยาแก้ปวดก็ได้ เพราะหากไม่รีบปรับพฤติกรรม จากแค่ปัญหาออฟฟิศซินโดรม อาจเสี่ยงหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทในอนาคตได้
Tagปวดคอ,ปวดไหล่,ออฟฟิศซินโดรม,หมองรองกระดูกทับเส้น| Create DateSeptember 18, 2020
เช็คให้ชัวร์ ปวดหัว ปวดศีรษะ ปวดแบบไหน...ร่างกายกำลังบอกอะไรเรา
ใครๆ ต่างก็เคยปวดหัว ปวดศีรษะ แต่เราจะรู้ได้ยังไงว่าอาหารปวดที่เป็น แค่เพราะความเครียดหรือเสี่ยงโรคทางสมองร้ายแรง การรู้ถึงอาการเตือนเบื้องต้นเพื่อเข้าพบแพทย์ได้ทันท่วงทีจึงสำคัญ
Tagปวดหัว,ปวดศีรษะ,ไมเกรน,โรคหลอดเลือดสมอง,เนื้องอกในสมอง| Create DateSeptember 17, 2020
บอกลา…สายตาสั้น ยาว เอียง ด้วย Femto-LASIK
เฟมโต เลสิก หรือ Femto-LASIK หรือ "เลสิกไร้ใบมีด" เป็นวิธีการแก้ไขสายตาผิดปกติ สั้น ยาว เอียง ด้วยเทคโนโลยีใหม่ โดยการใช้ Femtosecond laser ในการแยกชั้นกระจกตา โดยไม่ใช้ใบมีด
Tagเลสิก,เลสิค,Lasik,Femto| Create DateSeptember 16, 2020
โรคต้อลมต้อเนื้อ โรคตาใกล้ตัว
ผู้ที่มีอาการตาแดง บวม คันตา เคืองตา แสบตา น้ำตาไหล ปวดหรือรู้สึกเหมือนมีสิ่งแปลกปลอมในตาอยู่บ่อยๆ ควรเข้ารับการตรวจจากจักษุแพทย์ เพราะอาจมีต้อลมหรือต้อเนื้อ การตรวจวินิจฉัยให้รู้โรคที่แท้จริง จะเป็นก
Tagตา,ต้อลม,ต้อเนื้อ| Create DateSeptember 16, 2020
ไม่อยากตัดขา “เล็บขบและตาปลา”…ผู้ป่วยเบาหวานต้องดูแลให้ถูกวิธี
เพราะเท้าของผู้ป่วยเบาหวานจะรับรู้ความรู้สึกได้น้อยกว่าคนทั่วไป จึงมีโอกาสเกิดแผลได้โดยไม่รู้ตัว การดูแลเท้าจึงเป็นอีกสิ่งสำคัญที่ผู้ป่วยเบาหวานไม่ควรมองข้าม
Tagเบาหวาน,ตัดเล็บเบาหวาน| Create DateSeptember 14, 2020
เลือกวัตถุดิบที่ดีต่อสุขภาพน่ะดีแล้ว...แต่ถ้าเลือกใช้น้ำมันผิด ชีวิตก็เปลี่ยน!
น้อยคนที่จะรู้ว่าการบริโภคน้ำมันพืชน่ะส่งผลต่อสุขภาพหัวใจโดยตรง การปรุงอาหารในรูปแบบต่างๆ ทั้งผัด ทั้งทอด เราต้องรู้วิธีการเลือกใช้น้ำมันพืชที่ดีต่อสุขภาพ
Tagไขมันดี,สมดุลกรดไขมัน,น้ำมันผสมเอ็มเมอรัล| Create DateSeptember 11, 2020
หูอื้อหูดับเฉียบพลัน ภัยร้ายที่เกิดได้แบบไม่ทันตั้งตัว
จู่ๆ ก็ฟังไม่ค่อยได้ยิน หรือมีเสียงดังอื้อๆ ภายในหู อาการเหล่านี้อาจบอกว่าคุณกำลังเสี่ยงเส้นประสาทหูชั้นในดับเฉียบพลัน มาทำความรู้จักให้รู้เท่าทันและพร้อมรับมือกันดีกว่า
Tagหูอื้อ,ปัญหาหู| Create DateSeptember 10, 2020
เจาะหูเพื่อความปัง ระวังพังเพราะคีลอยด์
คนที่ชอบเจาะหู หรือกำลังอยากจะเจาะหู ควรทำความรู้จักกับแผลคีลอยด์เอาไว้ เพราะไม่ว่าใครก็สามารถเป็นได้ ถ้าหากดูแลรักษาความสะอาดแผลไม่ดี
Tagโรคคีลอยด์ใบหู,แผลคีลอยด์| Create DateSeptember 10, 2020
เรื่องสำคัญที่ควรรู้...ก่อนเริ่มต้นเปลี่ยนตนเองด้วยการเทคฮอร์โมน
เทคฮอร์โมน วิธีที่จะทำให้สามารถเปลี่ยนแปลงตนเองเพื่อไปยังเพศที่ต้องการได้ ซึ่งการเทคฮอร์โมนนั้นมีข้อควรระวังหลายๆ อย่าง จึงจำเป็นอย่างมากที่ต้องศึกษาให้เข้าใจอย่างแท้จริง
Tagฮอร์โมน,เทคฮอร์โมน| Create DateSeptember 10, 2020
กระดูกพรุน ภัยเงียบใกล้ตัวคนสูงวัย!
ภาวะกระดูกพรุน ถือเป็นอีกหนึ่งภัยเงียบที่ผู้สูงอายุหลายคนไม่อาจทราบได้เลยว่า คุณเข้าข่ายเสี่ยงอยู่หรือไม่ ดังนั้นมาทำความรู้จักเอาไว้ เพื่อจะได้เตรียมพร้อมรับมือในอนาคต
Tagกระดูกพรุน,รักษากระดูกพรุน| Create DateSeptember 09, 2020
ลูกมีปัญหาการเรียน…คุณพ่อคุณแม่ช่วยได้ถ้าเข้าใจ
เด็ก ๆ ทุกคนอยากเรียนให้เก่ง แต่หากเค้าเจอปัญหา คุณพ่อคุณแม่และคุณครูต้องทำความเข้าใจและพร้อมช่วยเหลือเด็ก ๆ
Tagเด็ก,สุขภาพจิตเด็ก| Create DateSeptember 07, 2020
มีไข้ ปวดศีรษะ หนึ่งในสัญญาณเตือนกาฬโรค...โรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คน
เมื่อมีไข้หนาวสั่น อ่อนเพลียรุนแรง ปวดหัว อย่ามัวชะล่าใจ! เพราะอาจเป็นสัญญาณเตือนของกาฬโรค โรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คน...ที่ต้องรีบรักษาโดยเร็ว
Tagโรคะระบาด,กาฬโรค| Create DateSeptember 01, 2020
พ่อแม่รับมืออย่างไร? ให้ลูกน้อยไม่เสี่ยงภูมิแพ้กำเริบช่วงหน้าฝน
เด็กที่เป็นโรคภูมิแพ้อยู่แล้วจะมีความเสี่ยงอาการภูมิแพ้กำเริบเพิ่มมากขึ้นในช่วงหน้าฝน เพราะเยื่อบุโพรงจมูกมีความไวต่ออากาศที่มีความเปลี่ยนแปลง พ่อแม่จึงควรต้องเฝ้าระวังมากเป็นพิเศษ
Tagภูมิแพ้,ภูมิแพ้ในเด็ก,ทดสอบภูมิแพ้| Create DateSeptember 01, 2020
เมื่อลูกอยู่บ้าน เรียนออนไลน์ นี่คือวิธีส่งเสริมพัฒนาการในเด็กยุค New Normal
เด็กในยุค New Normal ที่การเรียนกการสอนถูกปรับใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ ช่วง Covid-19 ทำให้เด็กหลายคนต้องอยู่บ้านมากขึ้น นี่จึงเป็นวิธีการรับมือที่พ่อแม่ควรรู้
Tagพัฒนาการเด็ก,ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก| Create DateSeptember 01, 2020
CT Scan กับ MRI ต่างกันอย่างไรกันแน่…กับการสแกนสมอง
ปัจจุบันการตรวจค้นหาความผิดปกติของอวัยวะภายในต่าง ๆ มีความก้าวหน้ามากขึ้น และเทคโนโลยีการตรวจที่มีการใช้แพร่หลาย ได้แก่การตรวจ CT (computerized tomography) และ MRI (magnetic resonance imaging) แม้การต
TagCT SCAN,MRI,สแกนสมอง,CT Brain| Create DateAugust 28, 2020
ปวดหัวแบบไหน ชัวร์ว่าใช่…ปวดหัวไมเกรน
ปวดหัวไมเกรน อาการปวดหัวที่ไม่ธรรมดา ทั้งจากระดับความปวดที่รุนแรงกว่า และระยะเวลาของอาการที่ยาวนานกว่า อย่างไรก็ตาม ‘ไมเกรน’ ไม่ได้แสดงออกผ่านอาการปวดหัวเพียงอย่างเดียว แต่ยังออกอาการเชื่อมโยงไปถึงสัม
Tagปวดหัว,ปวดหัวไมเกรน| Create DateAugust 28, 2020
หย่อนสมรรถภาพทางเพศ...ปัญหาของคุณผู้ชายที่รักษาได้
ล่มปากอ่าว นกเขาไม่ขัน อวัยวะเพศไม่แข็งตัว ปัญหาภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศที่รู้ทันได้ด้วยการตรวจสมรรถภาพเพศชาย และวางแผนรักษาให้ตรงสาเหตุ
Tagนกเขาไม่ขัน,หย่อนสมรรถภาพทางเพศ| Create DateAugust 18, 2020
หย่อนสมรรถภาพทางเพศ อย่าปล่อยทิ้งไว้...เพราะไม่ใช่แค่ปัญหาเรื่องบนเตียง
ล่มปากอ่าว นกเขาไม่ขัน อวัยวะเพศไม่แข็งตัว ปัญหาภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศที่รู้ทันได้ด้วยการตรวจสมรรถภาพเพศชาย และวางแผนรักษาให้ตรงสาเหตุ